ขนส่งระหว่างประเทศต้องรู้เรื่อง Freight
ใครรับผิดชอบ ค่าขนส่งระหว่างประเทศ รู้จัก Freight และข้อกำหนดในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ผู้ที่ขายสินค้าไปยังต่างประเทศ เพื่อไปงานแสดงสินค้า (exhibition) หรือขนย้ายเครื่องจักรไปต่างประเทศ Read More
ผู้ที่ขายสินค้าไปยังต่างประเทศ เพื่อไปงานแสดงสินค้า (exhibition) หรือขนย้ายเครื่องจักรไปต่างประเทศ Read More
อยากส่งสินค้าไปขายที่ต่างประเทศ ต้องรู้เรื่องภาษี การส่งออกต้องเสียภาษีหรือไม่? หากเสีย ต้องเสียภาษีชนิดใดบ้าง? และควรให้บริษัทขนส่งต่างประเทศใดคอยดูแล บทความนี้มีคำตอบ Read More
หากเป็นเมื่อก่อนการจะขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ อาจดูเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีตัวเลือกในการขนส่งน้อย แต่ในปัจจุบัน การส่งสินค้าระหว่างประเทศหรือบริการโลจิสติกส์ต่างๆ ไม่ใช่เรื่องที่ยุ่งยากอีกต่อไป เพราะปัจจุบันมีบริษัทชิปปิ้งเกิดขึ้นมากมาย และมักจะมีบริการที่ครบวงจร ลูกค้าไม่ต้องไปติดต่องานด้านพิธีการศุลกากรเอง บริษัทโลจิสติกส์เหล่านี้ ดำเนินการให้ทั้งหมด แต่จะมีวิธีเลือกบริษัทขนส่งต่างประเทศอย่างไรให้ตอบโจทย์กับธุรกิจ เราไปหาคำตอบกัน
การเลือกบริการขนส่งระหว่างประเทศถือเป็นความท้าทาย สำหรับผู้ประกอบการธุรกิจที่มีประสบการณ์น้อยหรือแทบจะไม่มีเลย เพราะขนส่งระหว่างประเทศ และบริการโลจิสติกส์ เป็นงานบริการที่มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ซับซ้อนในทุกขั้นตอน เช่น ขั้นตอนพิธีการศุลกากร หรือ custom clearance เพื่อให้สินค้าไปถึงผู้รับปลายทางโดยไม่ติดปัญหา
freight forwarder thailand คืออีกหนึ่งธุรกิจที่กำลังเป็นที่สนใจมากขึ้นเรื่อยๆในยุคสมัยนี้ ด้วยบริการการขนส่งที่สามารถอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการได้อย่างหลากหลาย และครบวงจร สามารถตัดปัญหาเรื่องความยุ่งยากที่ผู้ใช้บริการต้องพบเจอเมื่อต้องการส่งสินค้าหรือสิ่งต่างๆ ด้วยบริการขนส่งระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาทำความเข้าใจให้มากยิ่งขึ้นเกี่ยวกับ ขนส่งระหว่างประเทศ ว่าหน้าที่หลักๆของ freight forwarder thailand มีอะไรบ้างและมีประโยชน์อย่างไรต่อผู้ใช้บริการ
เมื่อพูดถึงระบบโลจิสติกส์ (Logistics) หรือระบบการจัดส่งสินค้า สิ่งของ ตลอดจนทรัพยากรต่าง ๆ จากแหล่งผลิตต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางตามความต้องการของลูกค้า แน่นอนว่าในปัจจุบันนี้หลาย ๆ คนก็คงไม่รู้สึกแปลกใหม่กับคำดังกล่าวนี้มากนัก เพราะระบบโลจิสติกส์ได้เข้ามามีบทบาทและกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเรามากขึ้นทั้งทางตรง อาทิ การส่งพัสดุ การซื้อสินค้าออนไลน์ และทางอ้อม อาทิ การเลือกซื้อสินค้าสำหรับอุปโภคและบริโภค ที่ถือเป็นปลายทางของระบบโลจิสติกส์ด้วยกันทั้งนั้น
หากคุณเป็นผู้ประกอบการนำเข้าและส่งออกสินค้ายุคใหม่ ที่ต้องใช้บริการโลจิสติกส์หรือการขนส่งระหว่างประเทศและต้องผ่านกระบวนการกฎระเบียบและกฎหมายทางศุลกากร รวมถึงต้องมีเอกสารต่างๆ ที่ยุ่งยากและซับซ้อนมากมาย ควรทำความรู้จักกับ ‘Freight Forwarder’ ในประเทศไทย เพราะถือว่าเป็นผู้ให้บริการที่เป็นตัวช่วยที่ดี ในการลดขั้นตอนการทำงานและทำให้คุณประหยัดเวลา รวมทั้งยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการนำเข้าและส่งออกได้ดียิ่งขึ้น
เชื่อว่าทุกคนคงเคยสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ หรือแม้กระทั่งเคยส่งของไปให้เพื่อนๆ ที่ไปเรียนต่างถิ่นต่างแดน น่าจะคุ้นเคยกับระบบขนส่งต่างประเทศ ว่ามีขั้นตอนอะไรบ้าง และหากพูดถึงองค์กรขนาดใหญ่ ที่ต้องมีการนำเข้าวัตถุดิบหรือต้องมีการส่งออกสินค้าไปยังประเทศปลายทางที่มีออร์เดอร์สั่งเข้ามา ระบบขนส่งโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ (International Logistic Service) มีบทบาทสำคัญมากต่อธุรกิจส่งออกเหล่านี้
ธุรกิจนำเข้า-ส่งออก ได้กลับมาหายใจได้อีกครั้งหลังจากที่ต้องหยุดชะงักไป การค้าและเศรษฐกิจต่างๆ เริ่มฟื้นตัว ประเทศที่คนไทยนิยมสั่งสินค้ามาขาย ยังคงเป็นประเทศจีน เนื่องจากต้นทุนสินค้าราคาถูกนำมาขายมักจะได้กำไรเป็นกอบเป็นกำ แต่การจะนำสินค้าเข้าประเทศ หรือแม้กระทั่งส่งสินค้าออกนอกประเทศ ต้องรู้อะไรบ้าง พิธีการทางศุลการกรคืออะไร วันนี้ บริษัท โรเจอร์ กรุงเทพ จำกัด มีคำตอบให้ในบทความนี้
เทรนการทำธุรกิจในปัจจุบันไม่ได้จำกัดเพียงแค่ในประเทศไทยอีกต่อไป หลายๆคนเริ่มมองหาโอกาสในการขยายธุรกิจไปที่ต่างประเทศกันมากขึ้น ยิ่งโลกยุคนี้ที่เราทุกคนสามารถเชื่อมต่อกันได้อย่างง่ายดายนั้น การพูดคุยข้ามประเทศก็ดูเป็นเรื่องง่ายไปซะหมด ธุรกิจที่ดูจะฮอตฮิตในยุคนี้มากที่สุดแม้แต่เจ้าโควิดตัวร้ายก็โค่นไม่ลงก็คงจะเป็นธุรกิจ Logistic service นั่นเอง